1. กำลังสำรอง หมายถึงใคร ?
“กำลังสำรอง”
หมายถึง กำลังที่มิใช่กำลังประจำการและกองประจำการที่เตรียมไว้เพื่อปกป้องอธิปไตย ของชาติ แต่คือการประกอบกันของกำลังกลุ่มต่างๆ ซึ่งประกอบไปด้วย กำลังพลสำรอง กำลังกึ่งทหาร กลุ่มพลัง มวลชนจัดตั้งโดยมีกฎหมายรองรับ และกลุ่มพลังมวลชนอื่นๆ กำลังสำรอง ประกอบด้วยกำลังต่างๆ 4 กลุ่ม ได้แก่- กำลังพลสำรอง อาทิ ผู้สำเร็จการฝึกวิชาทหารชั้นปีที่ 3, ชั้นปีที่ 5 และพลทหารกองประจำการที่รับ ราชการครบระยะเวลาที่กฎหมายกำหนด ซึ่งคนกลุ่มนี้เป็นกำลังสำรองที่ ทบ. สามารถนำมาใช้ในภารกิจทางทหาร และยังสามารถสนับสนุนการปฏิบัติภารกิจของกระทรวงกลาโหมได้ตามที่กฎหมายกำหนด
- กำลังกึ่งทหาร เช่น ตำรวจตระเวนชายแดน หน่วยอาสาสมัครทหารพราน และหน่วยกองร้อยอาสาสมัครรักษาดินแดน ซึ่งเป็นกลุ่มบุคคลพลเรือนที่ได้รับการฝึกวิชาทหารให้มีความสามารถในการทำการรบ
- กลุ่มพลังมวลชนจัดตั้งโดยมีกฎหมายรองรับ เช่น นักศึกษาวิชาทหาร ไทยอาสาป้องกันชาติ และกลุ่ม กองหนุนเพื่อความมั่นคงของชาติ
- กลุ่มพลังมวลชนอื่นๆ เช่น กลุ่มลูกเสือชาวบ้าน กลุ่มสตรีอาสาสมัครรักษาดินแดน สมาคมศิษย์เก่า นักศึกษาวิชาทหาร สมาคมกำลังสำรองรักษาดินแดนไทย ชมรมการกำลังสำรองแห่งประเทศไทย เป็นต้น ซึ่งเป็น กลุ่มที่ประกอบขึ้นจากบุคคลพลเรือนที่มีเจตนารมณ์ที่จะสนับสนุนภารกิจของกองทัพ
สามารถแสดงความคิดเห็นเพิ่มเติมได้ที่นี
2. กำลังพลสำรอง กับ ทหารอาสา แตกต่างกันอย่างไร ?
ตอบ
สามารถแสดงความคิดเห็นเพิ่มเติมได้ที่นี
3. จะสามารถทำงานเป็นทหารอาสานานได้แค่ไหน ?
ตอบ สามารถทำงานได้โดยมีสัญญาจ้างคราวละไม่เกิน 4 ปี โดยสามารถต่อสัญญาจ้างได้ตามความเหมาะสมและความจำเป็นของแต่ละส่วนราชการ แต่รวมระยะเวลาจ้างงานแล้วต้องไม่เกิน 8ปี เว้นบุคคลผู้นั้นมีอายุครบ 35 ปี สำหรับผู้ดำรงตำแหน่งชั้นสัญญาบัตร และครบ 30 ปี สำหรับผู้ดำรงตำแหน่งต่ำกว่าสัญญาบัตร ให้ถือว่าสัญญาจ้างสิ้นสุดลง
สามารถแสดงความคิดเห็นเพิ่มเติมได้ที่นี
4. ทหารอาสาได้เงินเดือน และค่าตอบแทนไหมและสิทธิประโยชน์อะไรบ้าง ?
ระหว่างการเข้ารับราชการ
ไม่รวมบิดา มารดา และบุตร
สามารถแสดงความคิดเห็นเพิ่มเติมได้ที่นี
5. กำลังพลสำรองถูกเรียกให้ไปทำงานไหม ?
ตอบ
สามารถแสดงความคิดเห็นเพิ่มเติมได้ที่นี